วันอาทิตย์ที่ 7 ธันวาคม พ.ศ. 2557

บันทึกอนุทินครั้งที่ 16

วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
( Science Experiences Management for Early Childhood )
อาจารย์ผู้สอน อ. จินตนา สุขสำราญ
วัน/เดือน/ปี 02/12/57
เรียนครั้งที่ 16 เวลาเรียน 14:10 - 17:30
กลุ่ม 102 วันอังคาร ห้อง 434



อาจารย์นักศึกษานั่งตามกลุ่มที่เคยทำแผน 5 คน แล้วช่วยกันทำแผ่นพับเรื่องสายสัมพันธ์ผู้ปกครองและนักเรียน โดยแจกกระดาษให้นักศึกษาทุกคน แล้วเลือกอันที่ดีที่สุดส่งอาจารย์เพียง 1 แผ่นนั้นเอง



- และสุดท้ายอาจารย์ได้บอกให้นักศึกษานำของเล่นเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ที่เคยประดิษฐ์ เขียนชื่อแล้วนำไปส่งที่ห้องพักอาจารย์ตามกล่องแต่ล่ะกลุ่มเรียน

(Applications)
สามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ได้ เพราะว่าการนำเสนองานต่างๆทั้งในเรื่องของวิจัย หรือการดูโทรทัศน์ครูเราสามารถนำไปปรับประยุกต์ใช้ได้ในเรื่องของความเหมาะสมในการนำไปสอนให้กับเด็กปฐมวัย และการทำแผ่นพับก็เป็นประโยชน์มากๆในเรื่องของการรดมความคิด การทำงานเป็นระบบและนำไปใช้ได้จริงนั้นเอง

(Evaluation)
Self = เข้าเรียนตรงเวลา แต่งกายเรียบร้อยไม่ผิดระเบียบของมหาวิทยาลัย ในห้องเรียนก็ตั้งใจเรียนเวลาที่อาจารย์สอนหรืออธิบาย และคอยปฏิบัติตามและจดบันทึกลงสมุดอยู่อย่างเสมอ เมื่ออาจารย์ถามคำถาม ก็จะคอยตอบอยู่เสมอ ไม่ว่าคำตอบจะถูกจะผิดก็ตาม ได้มีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมแผ่นพับ การช่วยออกความคิดเห็นนั้นเอง
Friends = ส่วนใหญ่ก็จะตั้งใจเรียนตั้งใจฟังอาจารย์กันดี จะมีเพียงบางส่วนเท่านั้นที่คุยกัน และโดยภาพรวมแล้วเพื่อนๆก็คอยช่วยกันตอบคำถามอาจารย์ และรวมกลุ่มกันช่วยทำงานที่อาจารย์สั่งกันอย่างตั้งใจ
Teacher = ในวันนี้อาจารย์จะคอยชี้แนะให้แต่ล่ะคนให้ฟังถึงข้อที่ควรปรับปรุง เพื่อให้นักศึกษาทำงานได้ถูกต้องและสามารถนำไปใช้ได้จริง อาจารย์มักมีการถามเจาะจงไปทีล่ะเรื่องอยู่เสมอเพื่อที่ให้นักศึกษามีความเข้าใจอย่างแท้จริง และอาจารย์ยังคอยถามอยู่เสมอว่ามีอะไรที่ไม่เข้าหรือเปล่า สามารถถามได้ เพื่อที่อาจารย์จะได้ให้ข้อเสนอแนะในการทำงานให้ถูกต้องและเหมาะสม และสุดท้ายอาจารย์ได้มีอุปกรณ์เป็นกระดาษมาให้นักศึกษาทำงานนั้นเอง

บันทึกอนุทินครั้งที่ 15

วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
( Science Experiences Management for Early Childhood )
อาจารย์ผู้สอน อ. จินตนา สุขสำราญ
วัน/เดือน/ปี 25/11/57
เรียนครั้งที่ 15 เวลาเรียน 14:10 - 17:30
กลุ่ม 102 วันอังคาร ห้อง 434



วันนี้ได้ออกไปพูดหลังจากดูโทรทัศน์ครู
เรื่องการกำเนิดของเสียง 



การทำ"Waffle"


ส่วนผสม(Compound)
1.แป้ง(Powder)
2.เนย(Better)
3.ไข่ไก่ (Egg)
4.น้ำเปล่า(Water)

ขั้นตอนการทำ(Step)
1.เทแป้งลงในภาชนะที่เตรียมไว้
2.นำไข่ใส่ลงไปตามด้วยเนยจืดคนให้เข้ากัน
3.เติมน้ำเพื่อไม่ให้แป้งข้นจนเกินไป
4.คนจนแป้งเข้าที่เป็นเนื้อเดียวกันก็จะได้แบบนี้
5.แบ่งแป้งใส่ถ้วยที่เตรียมไว้
6.นำเนยทาที่แม่พิมพ์ที่เตรียมไว้เพื่อไม่ให้แป้งติดแม่พิมพ์
7.นำแป้งที่แบ่งไว้ในถ้วยเทลงในแม่พิมพ์ที่เตรียมไว้
8.รอจนสุกก็จะได้ออกมาเป็นหน้าตาแบบนี้
บรรยากาศภายในห้อง





      (Applications)
เราสามารถนำความรู้ที่ได้ในวันนี้ ไปใช้ในอนาคตได้ เพราะว่าการสอนทำอาหารได้ในหลายเรื่องมาก และเด็กๆก็ยังชอบมากด้วย เพราะเด็กๆสามารถลงมือทำจริงหรือปฏิบัติได้จริง แถมยังได้สอนในเรื่องของอุปกรณ์หรือวัสดุต่างๆในการทำอาหาร เด็กจึงมีความสนใจมากและสามารถนำไปปรับใช้ได้ในชีวิตประจำวันนั้นเอง

(Evaluation)
Self = เข้าเรียนตรงเวลา แต่งกายเรียบร้อยไม่ผิดระเบียบของมหาวิทยาลัย ในห้องเรียนก็ตั้งใจเรียนเวลาที่อาจารย์สอนหรืออธิบาย และคอยปฏิบัติตามและจดบันทึกลงสมุดอยู่อย่างเสมอ เมื่ออาจารย์ถามคำถาม ก็จะคอยตอบอยู่เสมอ ไม่ว่าคำตอบจะถูกจะผิดก็ตาม ได้มีส่วนร่วมในการทำกิจกรรม
Friends = ส่วนใหญ่ก็จะตั้งใจเรียนตั้งใจฟังอาจารย์กันดี จะมีเพียงบางส่วนเท่านั้นที่คุยกัน และโดยภาพรวมแล้วเพื่อนๆก็คอยช่วยกันตอบคำถามอาจารย์ และรวมกลุ่มกันช่วยทำอาหารที่อาจารย์นำอุปกรณ์มาให้ทำ คือการทำวาฟเฟิลนั้นเอง
Teacher = ในวันนี้อาจารย์จะคอยชี้แนะให้แต่ล่ะคนให้ฟังถึงข้อที่ควรปรับปรุง เพื่อให้นักศึกษาทำงานได้ถูกต้องและสามารถนำไปใช้ได้จริง อาจารย์มักมีการถามเจาะจงไปทีล่ะเรื่องอยู่เสมอเพื่อที่ให้นักศึกษามีความเข้าใจอย่างแท้จริง และอาจารย์ยังคอยถามอยู่เสมอว่ามีอะไรที่ไม่เข้าหรือเปล่า สามารถถามได้ เพื่อที่อาจารย์จะได้ให้ข้อเสนอแนะในการทำงานให้ถูกต้องและเหมาะสม และสุดท้ายอาจารย์ได้มีอุปกรณ์ในการทำอาหารมาให้นักศึกษาได้ทำ บรรยากาศในห้องเรียนก็ไม่ตึงเครียดจนเกินไป เพราะอาจารย์ใจดี เป็นคนสนุกสนานนั้นเอง


บันทึกอนุทินครั้งที่ 14

วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
( Science Experiences Management for Early Childhood )
อาจารย์ผู้สอน อ. จินตนา สุขสำราญ

วัน/เดือน/ปี 18/11/57
เรียนครั้งที่ 14 เวลาเรียน 14:10 - 17:30

กลุ่ม 102 วันอังคาร ห้อง 434



                     ในวันนี้ต่อจากสัปดาห์ที่แล้วนำเสนองานอีก3กลุ่มคือ  1.กลุ่มนกหงษ์หยก แผนวันอังคาร
                                                                                                 2กลุ่มสับปะรด แผนวันอังคาร
                                                                                                 3กลุ่มส้ม แผนวันพฤหัสบดี


บรรยากาศขณะนำเสนอของแต่ละกลุ่ม





***กิจกรรมในห้องเรียนทำไข่ทาโกยากิ (Cooking)


  
   




เป็นกิจกรรมง่ายๆที่เราสามารถนำไปสอนให้กับเด็กปฐมวัยได้ เป็นกิจกรรมที่สนุกสนาน เด็กๆก็จะเกิดการเรียนรู้นั้นเอง

ส่วนผสม (Ingredient)

1.ไข่ไก่ (Egg)     2.ข้าวสวย (Rice)

3.ผักต่างๆ(แครอทcarrot /ต้นหอม leek)

4.ปูอัด (a crab compresses)     5.ซอสปรุงรส

6.เนย (better)

วิธีการทำ (How to do)

1.ตีไข่ใส่ชาม

2.นำส่วนผสมต่างๆใส่ลงไปในไข่ในอัตราส่วนที่พอดี

3.นำเนยใส่ในหลุมกระทะ

4.คนส่วนผสมให้เข้ากันจากนั้นนำไปเทลงในหลุมกระทะที่เตรียมไว้

Applications
เราสามารถนำความรู้ที่ได้ในวันนี้ ไปใช้ในอนาคตได้ เพราะว่าการเขียนแผนเป็นสิ่งที่จำเป็นอย่างมาในการทำงานในวิชาชีพครู ในการเขียนแผนนั้นต้องเป็นประโยชน์และใช้ได้จริงกับเด็กปฐมวัย เพื่อที่จะได้เกิดประโยชน์แก่ตัวเด็กด้วย เมื่อมีแผนแล้ว การสอนก็ยิ่งมีความจำเป็นมากเพราะเราจะสอนอย่างไรให้เด็กได้รับความรู้ ทำอย่างไรให้เด็กเรียนรู้ได้อย่างเข้าใจ และเด็กสามารถนำไปปรับใช้ได้ในชีวิตประจำวันนั้นเอง

Evaluation
Self = เข้าเรียนตรงเวลา แต่งกายเรียบร้อยไม่ผิดระเบียบของมหาวิทยาลัย ในห้องเรียนก็ตั้งใจเรียนเวลาที่อาจารย์สอนหรืออธิบาย และคอยปฏิบัติตามและจดบันทึกลงสมุดอยู่อย่างเสมอ เมื่ออาจารย์ถามคำถาม ก็จะคอยตอบอยู่เสมอ ไม่ว่าคำตอบจะถูกจะผิดก็ตาม ได้มีส่วนร่วมในการทำกิจกรรม
Friends = ส่วนใหญ่ก็จะตั้งใจเรียนตั้งใจฟังอาจารย์กันดี จะมีเพียงบางส่วนเท่านั้นที่คุยกัน และโดยภาพรวมแล้วเพื่อนๆก็คอยช่วยกันตอบคำถามอาจารย์ และรวมกลุ่มกันคุยหารือเกี่ยวกับงานที่กำลังนำเสนอของกลุ่มตัวเอง ส่วนใหญ่ก็มีส่วนร่วมภายในห้องเรียนกันทุกคน
Teacher = ในวันนี้อาจารย์จะคอยชี้แนะให้แต่ล่ะกลุ่มฟังถึงข้อที่ควรปรับปรุง เพื่อให้นักศึกษาทำงานได้ถูกต้องและสามารถนำไปใช้ได้จริง อาจารย์มักมีการถามเจาะจงไปทีล่ะเรื่องอยู่เสมอเพื่อที่ให้นักศึกษามีความเข้าใจอย่างแท้จริง และอาจารย์ยังคอยถามอยู่เสมอว่ามีอะไรที่ไม่เข้าหรือเปล่า สามารถถามได้ เพื่อที่อาจารย์จะได้ให้ข้อเสนอแนะในการทำงานให้ถูกต้องและเหมาะสม และสุดท้ายอาจารย์ได้มีอุปกรณ์ในการทำอาหารมาให้นักศึกษาได้ทำ บรรยากาศในห้องเรียนก็ไม่ตึงเครียดจนเกินไป เพราะอาจารย์ใจดี เป็นคนสนุกสนานนั้นเอง


วันอังคารที่ 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

สรุปโทรทัศน์ครู

เรื่อง การกำเนิดของเสียง

โรงเรียนดาราคาม


ครู สง่า  ทรัพย์เฮง

-ขั้นตอนการสอน

การสอนของครูสง่า เป็นการจัดกิจกรรมการทดลอง คือ ครูสง่านำแท่งโลหะ 2 แท่ง  และช้อนซ้อน 2 อัน มาให้นักเรียนสลับกันเคาะ หลังจากนั้นก็ฝึกให้นักเรียนมีได้ฟัง ได้สังเกต และได้คิด โดยให้นักเรียนฝึกตอบคำถาม ว่ามีเสียงที่เหมือนหรือต่างกันอย่างไร และเสียงมาจากแหล่งไหนได้บ้าง

-สิ่งที่นักเรียนได้เรียนรู้

เด็กได้ทราบถึงการกำเนิดของเสียง คือเสียงเกิดจากการสั่นของมวลเนื้อวัตถุ  เมื่อมวลเนื้อวัตถุถูกเคาะแล้วเกิดการสั่นสะเทือนจึงทำให้เกิดเสียงออกมาให้ได้ยิน จากการทดลองนี้เด็กได้ประสบการณ์เกี่ยวกับทักษะทางวิทยาศาสตร์ คือได้ทดลองรู้จักคิด  ฟัง และสังเกต ซึ่งสามารถนำความรู้ที่ได้รับนั้นไปปรับประยุกต์ใช้ได้จริงได้ในชีวิตประจำวันได้

-สิ่งที่เด็กได้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์

ได้ทักษะการฟัง
ได้ทักษะการคิด
ได้ทักษะการสังเกต

ได้ทักษะการทดลองและการตอบคำถาม












สรุปวิจัย

ชื่อวิจัย   การพัฒนากระบวนการวิทยาศาสตร์พื้นฐานของเด็กปบมวัยโดยการใช้รูปแบบกิจกรรมศิลปสร้างสรรค์เพื่อการเรียนรู้

ชื่อผู้แต่ง  นางณัฐชุดา  สาครเจริญ

ต้องการพัฒนาอะไร
ต้องการพัฒนาการพัฒนากระบวนการวิทยาศาสตร์พื้นฐานของเด็กปบมวัยโดยการใช้รูปแบบกิจกรรมศิลปสร้างสรรค์เพื่อการเรียนรู้

ขั้นตอนการทำ 
1.ผู้วิจัยทำการทดสอบทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัยกำลังศึกษาชั้นอนุบาลปีที่ 2 โรงเรียนสามเสนนอก  (ประชาราษฎร์อนุกูล)   (Pretest) ก่อนการทดลอง
2.ผู้วิจัยทำการดำเนินการทดลองในกิจกรรมเสริมประสบการณ์
3.เมื่อดำเนินการทดลองครบ 8 สัปดาห์ ผู้วิจัยทำการประเมินทักาะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์พื้นฐานของเด็กปฐมวัย (Posttest) หลังเสร็จสิ้นการทดลองโดยใช้แบบทดสอบชุดเดียวกันกับที่ใช้ในการทดสอบก่อนการทดลอง
4.นำข้อมูลที่ได้จากการทดสอบทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์พื้นฐานของเด็กปฐมวัยมาตรวจให้คะแนนและนำไปทำการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยวิธีทางสถิติต่อไป                        

ผลที่ได้รับ

 การพัฒนาทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์พื้นฐานของเด็กปฐมวัยหลังการจัดกิจกรรมศิลปสร้างสรรค์เพื่อการเรียนรู้โดยรวมและการจำแนกรายทักษะอยู่ในระดับดี และเมื่อเปรียบเทียบกับก่อนการทดลองพบว่าสูงขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ  .01

บันทึกอนุทินครั้งที่ 13

วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย

( Science Experiences Management for Early Childhood )
อาจารย์ผู้สอน อ. จินตนา สุขสำราญ
วัน/เดือน/ปี 11/11/57
เรียนครั้งที่ 13 เวลาเรียน 14:10 - 17:30
กลุ่ม 102 วันอังคาร ห้อง 434


(ความรู้ที่ได้รับ)

ในวันนี้อาจารย์ให้นักศึกษาทุกกลุ่มนำเสนองานหน้าชั้นเรียน โดยการสอบสอนตามแผนการเรียนที่เราเขียนส่งอาจารย์ ซึ่งมีหน่วยต่างๆมากมาย กลุ่มเรียน102 ทั้งหมด9กลุ่ม ซึ่งได้เรียงการนำเสนองานตามวันดังนี้  

                    กลุ่มที่1 หน่วยผลไม้ใช้แผนวันจันทร์     
                    กลุ่มที่2 หน่วยนกหงส์หยกใช้แผนวันอังคาร
                    กลุ่มที่3 หน่วยข้าวโพดใช้แผนวันพุธ    
                    กลุ่มที่4 หน่วยแตงโมงใช้แผนวันพฤหัสบดี
                    กลุ่มที่5 หน่วยกล้วยใช้แผนวันศุกร์        
                    กลุ่มที่6 หน่วยช้างใช้แผนวันจันทร์ 
                    กลุ่มที่7 หน่วยผีเสื้อใช้แผนวันอังคาร      
                    กลุ่มที่8 หน่วยสัปปะรดใช้แผนวันพุธ
                    กลุ่มที่9 หน่วยส้มใช้แผนวันพฤหัสบดี

บรรยากาศในห้องเรียน


                                   


(การนำไปประยุกต์ใช้)

             เราสามารถนำความรู้ที่ได้ในวันนี้ ไปใช้ในอนาคตได้ เพราะว่าการเขียนแผนเป็นสิ่งที่จำเป็นอย่างมาในการทำงานในวิชาชีพครู ในการเขียนแผนนั้นต้องเป็นประโยชน์และใช้ได้จริงกับเด็กปฐมวัย เพื่อที่จะได้เกิดประโยชน์แก่ตัวเด็กด้วย เมื่อมีแผนแล้ว การสอนก็ยิ่งมีความจำเป็นมากเพราะเราจะสอนอย่างไรให้เด็กได้รับความรู้ ทำอย่างไรให้เด็กเรียนรู้ได้อย่างเข้าใจ และเด็กสามารถนำไปปรับใช้ได้ในชีวิตประจำวันนั้นเอง

(การประเมินผล)
ตนเอง = เข้าเรียนตรงเวลา แต่งกายเรียบร้อยไม่ผิดระเบียบของมหาวิทยาลัย ในห้องเรียนก็ตั้งใจเรียนเวลาที่อาจารย์สอนหรืออธิบาย และคอยปฏิบัติตามและจดบันทึกลงสมุดอยู่อย่างเสมอ เมื่ออาจารย์ถามคำถาม ก็จะคอยตอบอยู่เสมอ ไม่ว่าคำตอบจะถูกจะผิดก็ตาม ได้มีส่วนร่วมในการออกไปนำเสนอหน้าชั้นเรียน บทบาทเป็นคุณครูนั้นเอง

เพื่อนร่วมชั้นเรียน = ส่วนใหญ่ก็จะตั้งใจเรียนตั้งใจฟังอาจารย์กันดี จะมีเพียงบางส่วนเท่านั้นที่คุยกัน และโดยภาพรวมแล้วเพื่อนๆก็คอยช่วยกันตอบคำถามอาจารย์ และรวมกลุ่มกันคุยหารือเกี่ยวกับงานที่กำลังนำเสนอของกลุ่มตัวเอง ส่วนใหญ่ก็มีส่วนร่วมภายในห้องเรียนกันทุกคน

อาจารย์ผู้สอน = ในวันนี้อาจารย์จะคอยชี้แนะให้แต่ล่ะกลุ่มฟังถึงข้อที่ควรปรับปรุง เพื่อให้นักศึกษาทำงานได้ถูกต้องและสามารถนำไปใช้ได้จริง อาจารย์มักมีการถามเจาะจงไปทีล่ะเรื่องอยู่เสมอเพื่อที่ให้นักศึกษามีความเข้าใจอย่างแท้จริง และอาจารย์ยังคอยถามอยู่เสมอว่ามีอะไรที่ไม่เข้าหรือเปล่า สามารถถามได้ เพื่อที่อาจารย์จะได้ให้ข้อเสนอแนะในการทำงานให้ถูกต้องและเหมาะสม และสุดท้าย บรรยากาศในห้องเรียนก็ไม่ตึงเครียดจนเกินไป เพราะอาจารย์ใจดี เป็นคนสนุกสนานนั้นเอง

วันจันทร์ที่ 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

บันทึกอนุทินครั้งที่ 12


วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
( Science Experiences Management for Early Childhood )
อาจารย์ผู้สอน อ. จินตนา สุขสำราญ
วัน/เดือน/ปี 04/11/57
เรียนครั้งที่ 12 เวลาเรียน 14:10 - 17:30
กลุ่ม 102 วันอังคาร ห้อง 434





(การนำไปประยุกต์ใช้)เราสามารถนำความรู้ที่ได้ในวันนี้ ไปใช้ในอนาคตได้ เพราะว่าการเขียนแผนเป็นสิ่งที่จำเป็นอย่างมาในการทำงานในวิชาชีพครู ในการเขียนแผนนั้นต้องเป็นประโยชน์และใช้ได้จริงกับเด็กปฐมวัย เพื่อที่จะได้เกิดประโยชน์แก่ตัวเด็กด้วย ในการเขียนแผนนั้นต้องมีแบบแผน ไม่ใช่การเขียนอะไรก็ได้ตามใจชอบ ต้องคำนึ่งถึงความเป็นจริงและความถูกต้องรวมทั้งความเหมาะสมที่จะนำไปใช้กับเด็ก การเขียนแผนจึงไม่ใช้เรื่องที่ง่ายๆเลย ต้องได้รับการฝึกฝนนั้นเอง

(การประเมินผล)ตนเอง = เข้าเรียนตรงเวลา แต่งกายเรียบร้อยไม่ผิดระเบียบของมหาวิทยาลัย ในห้องเรียนก็ตั้งใจเรียนเวลาที่อาจารย์สอนหรืออธิบาย และคอยปฏิบัติตามและจดบันทึกลงสมุดอยู่อย่างเสมอ เมื่ออาจารย์ถามคำถาม ก็จะคอยตอบอยู่เสมอ ไม่ว่าคำตอบจะถูกจะผิดก็ตาม ได้มีส่วนร่วมในการวางแผนงานกลุ่ม เกี่ยวกับการเขียนแผนเพื่อที่จะส่งในเร็วๆนี้

เพื่อนร่วมชั้นเรียน = ส่วนใหญ่ก็จะตั้งใจเรียนตั้งใจฟังอาจารย์กันดี จะมีเพียงบางส่วนเท่านั้นที่คุยกัน และโดยภาพรวมแล้วเพื่อนๆก็คอยช่วยกันตอบคำถามอาจารย์ และรวมกลุ่มกันคุยหารือเกี่ยวกับงานเขียนแผนของกลุ่มตัวเอง ส่วนใหญ่ก็มีส่วนร่วมภายในห้องเรียนกันเกือบทุกคน

อาจารย์ผู้สอน = ในวันนี้อาจารย์ได้มีการอธิบายเกี่ยวกับการเขียนแผนอย่างละเอียด อาจารย์มักมีการถามเจาะจงไปทีล่ะกลุ่มอยู่เสมอเพื่อที่ให้นักศึกษามีความเข้าใจอย่างแท้จริง และอาจารย์ยังคอยถามอยู่เสมอว่ามีอะไรที่ไม่เข้าหรือเปล่า สามารถถามได้ เพื่อที่อาจารย์จะได้ให้ข้อเสนอแนะในการทำงานให้ถูกต้องและเหมาะสม และสุดท้าย บรรยากาศในห้องเรียนก็ไม่ตึงเครียดจนเกินไป เพราะอาจารย์ใจดี เป็นคนสนุกสนานนั้นเอง

                                       





บันทึกอนุทินครั้งที่ 11


วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
( Science Experiences Management for Early Childhood )
อาจารย์ผู้สอน อ. จินตนา สุขสำราญ
วัน/เดือน/ปี 28/10/57
เรียนครั้งที่ 11 เวลาเรียน 14:10 - 17:30
กลุ่ม 102 วันอังคาร ห้อง 434






การนำไปประยุกต์ใช้เราสามารถนำความรู้ที่ได้ในวันนี้ ไปใช้ในอนาคตได้ เพราะการเป็นครูเราต้องมีความรู้รอบด้าน และหนึ่งในนั้นก็คือ วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย ในเรื่องของการทดลอง เด็กๆจะสนุกกับการทดลอง ทำให้เด็กเกิดความสนใจและพัฒนาทางการเรียนรู้ ซึ่งมีความจำเป็นอย่างมากสำหรับเด็ก เพราะวิทยาศาสตร์ก็คือสิ่งแวดล้อมรอบๆตัวเรา และเราจะได้รู้ด้วยว่าเรื่องใดที่มีความเหมาะสมและตรงกับความต้องการของเด็ก กับการนำไปสอนให้กับเด็กปฐมวัย (การประเมินผล)ตนเอง = เข้าเรียนตรงเวลา แต่งกายเรียบร้อยไม่ผิดระเบียบของมหาวิทยาลัย ในห้องเรียนก็ตั้งใจเรียนเวลาที่อาจารย์สอนหรืออธิบาย และคอยปฏิบัติตามและจดบันทึกลงสมุดอยู่อย่างเสมอ เมื่ออาจารย์ถามคำถาม ก็จะคอยตอบอยู่เสมอ ไม่ว่าคำตอบจะถูกจะผิดก็ตามเพื่อนร่วมชั้นเรียน = ส่วนใหญ่ก็จะตั้งใจเรียนตั้งใจฟังอาจารย์กันดี จะมีเพียงบางส่วนเท่านั้นที่คุยกัน และโดยภาพรวมแล้วเพื่อนๆก็คอยช่วยกันลงมือปฏิบัติและตอบคำถามอาจารย์ มีส่วนร่วมภายในห้องเรียนกันเกือบทุกคนอาจารย์ผู้สอน = ในวันนี้อาจารย์ได้มีสื่ออุปกรณ์มากมายมาให้นักศึกษาได้ทดลอง ทำให้นักศึกษามีความสนใจมาก และยังเข้าใจมากขึ้นเพราะได้เห็นของจริงและปฏิบัติจริง นอกจากนี้อาจารย์มักสอนไปถามไปอยู่เสมอ ซึ่งเป็นเทคนิคการสอนที่ดีมาก เพราะคอยกระตุ้นให้นักศึกษานั้นได้ฝึกคิดตาม รวมถึงมีความกล้าแสดงออกมากขึ้นในการตอบคำถาม และการเรียนการสอนก็ไม่ตึงเครียดจนเกินไปด้วย อาจารย์จะมีขอเสนอแนะให้เราคิดและแก้ไขปรับปรุงให้ถูกต้อง เพื่อความเหมาะสมของงานนั้นเอง


การจัดกิจกรรมหน่วย "ข้าวโพด" (Corn)





ความลับของอากาศ


วันจันทร์ที่ 27 ตุลาคม พ.ศ. 2557

บันทึกอนุทินครั้งที่ 10

วิชาการจัดประสบการณ์สำหรับเด็กปฐมวัย
(EAED 3207)
อาจารย์จินตนา    สุขสำราญ
วันอังคารที่  21  ตุลาคม   2557
ภาคเรียนที่  1  ปีการศึกษา  2557


                        ในสัปดาห์นี้อาจารย์ให้แต่ละคนนำสื่อของเล่นที่ตนเองประดิษฐ์ออกมานำเสนอหน้าชั้นพร้อมกับบอกด้วยว่าเด็กได้วิทยาศาสตร์ตรงไหน? มีเพื่อนๆนำสื่อที่ตนเองประดิษฐ์ออกมา Persent มากมาย เช่น ไหมพรมเต้นระบำ แก้วส่งเสียง ปืนลูกโป่ง ฯลฯ ส่วนฉันประดิษฐ์"ลูกโป่งเฮลิคอปเตอร์" ซึ่งจะใช้หลักการทางวิทยาศาสตร์ในเรื่องของแรงดันอากาศทำให้หลอดสามารถหมุนไปตามแรงลมของอากาศได้ และเพื่อนๆยังใช้หลักการทางวิทยาศาตร์ในเรื่องต่างๆในการทำสิ่งประดิษฐ์ของเล่นต่างๆด้วยเช่นกัน บางคนอาจจะใช้หลักการเรื่องแรงดันของอากาศ เรื่องแรงต้านของอากาศ เป็นต้น และในสัปดาห์นี้อาจารย์ให้นักศึกษาประดิษฐ์ของเล่นจากแกนกระดาษทิชชู่ซึ่งเป็นการประดิษฐ์ง่ายๆและสามารถเล่นได้โดยการขยับเส้นไหมพรมออกทั้งสองข้างแกนทิชชู่ก็จะดันตัวขึ้นมา

..............................................................................................................................  

หลังจากนั้นอาจารย์ก็ให้ทำสิ่งประะดิษฐ์จากแกนกระดาษทิชชู่

วัสดุอุปกรณ์ (Material)
  1. แกนทิชชู่ (Axle)
  2. กรรไกร (Scissors)
  3. กระดาษสี (Colored paper)
  4. เมจิ/สีต่างๆ (Color)
  5. กาว (Glue)
  6. ไหมพรม (Knitting wool)
  7. ที่เจาะรู (That perforate)                

วิธีการทำ (Procedures)

  1. ตัดแกนทิชชู่เป็น 2 ท่อน
  2. ใช้ที่เจาะเจาะรูทั้ง 2 ฝั่งตรงข้ามกัน
  3. ใช้ไหมพรมใส่เข้าไปตรงรูที่เจาะผูกปมไหมพรมให้คล้องคอได้ยาวพอประมาณ
  4. วาดรูปใส่กระดาษนำมาติดกับแกนทิชชู่พร้อมตกแต่งให้สวยงาม
วิธีการเล่น (How to play)

  1. นำไหมพรมคล้องคอ
  2. ใช้มือนทั้งสองข้างดึงไหมพรมที่อยู้ข้างล่าง
  3. ขยับมือซ้ายขวาไปมาแกนทิชชู่จะค่อยๆเลื่อนขึ้นข้างบน

การนำไปประยุกต์ใช้

                            สามารถนำความรู้ที่ได้จากการประดิษฐ์ของเล่นสามารถนำไปให้เด็กเล่นในชีวิตได้จริงรวมถึงยังได้รู้ถึงหลักการต่างๆทางวิทยาศาสตร์ต่างๆมากมายในชีวิตประจำวันมีการนำหลักการวิทยาศาสตร์เข้ามาเกี่ยวข้องด้วยเสมอเพราะวิทยาศาสตร์เป็นสิ่งที่อยู่รอบๆตัวเรานั้นเอง

การประเมินผล

                           ประเมินตนเอง = ในสัปดาห์นี้มีการเตรียมตัวในเรื่องของการเตรียมวัสดุอุปกรณ์ในการของออกมาประดิษฐ์ของเล่นให้เพื่อนในห้องได้ดูสามารถอธิบายถึงหลักการวิทยาศาสตร์สิ่งประดิษฐ์ที่ตนนำมาได้เป็นอย่างดี
                           ประเมินเพื่อน = เพื่อนๆสนใจดูสิ่งประดิษฐ์ที่เพื่อนๆคนอื่นออกมา Persent หน้าห้องเป็นอย่างดีมีการโต้ตอบคำถามเวลาที่อาจารย์ถามมีการเตรียมตัวในการนำสิ่งประดิษฐ์ของเล่นของตนเองมา
                           ประเมินผู้สอน = อาจารย์มีการถามคำถามปลายเปิดเพื่อให้เด็กคิดมีการสอดแทรกความรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับสื่อประดิษฐ์ที่นำมา