วันจันทร์ที่ 29 กันยายน พ.ศ. 2557

บันทึกอนุทินครั้งที่ 6

วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
( Science Experiences Management for Early Childhood )
อาจารย์ผู้สอน อ. จินตนา สุขสำราญ
วัน/เดือน/ปี 23/09/57
เรียนครั้งที่ 6 เวลาเรียน 14:10 - 17:30
กลุ่ม 102 วันอังคาร ห้อง 434




มีการนำเสนอบทความ  ดังนี้


      น.ส.สุธาสิณี  ธรรมานนท์
       บทความเรื่อง  แนวทางให้เด็กทดลอวิทยาศาสตร์
       ผู้เขียน: ดร.เพกัญญา  พรหมขัติแก้ว

น.ส.นฤมล อิสระ

       ผู้เขียน: มิสวัลลภา  ขุมหิรัญ
ความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ส่งผลให้เราสามารถดูแลสุขภาพได้ดีขึ้นและเข้าใจเกี่ยวกับการโภชนาการ  
ผลจากการแสวงหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ทำให้เรามีความเป็นอยู่อย่างสะดวกสะบาย

เด็กเล็กๆมีธรรมชาติที่อยากรู้อยากเห็น  สามารถแสวงหาความรู้จากสิ่งต่างๆรอบตัวเขาและเริ่มเข้าใจสภาพแวดล้อมที่เขาอาศัยอยู่  กิจกรรมวิทยาศาสตร์ทำให้เด็กสนใจวัตถุและเหตุการณ์ เด็กเล็กมีวิธีการเรียนรู้คล้ายวิทยาศาสตร์สามารถทำงานด้วยทักษะการแสวงหาความรู้  กิจกรรมวิทยาศาสตร์จะส่งเสริมความสามารถของเด็กในเรื่องการคิดวิเคราะห์และการพัฒนาการทางอารมณ์ เช่น เด็กมีความรู้สึกและเจตคติทางบวก

น.ส.ยุพดี  สนประเสริฐ
บทความเรื่อง โลกของเราดำเนินอยู่ได้อย่างไร

ผู้เขียน: สสวท.
การสร้างประสบการณ์การเรียนรู้เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมใกล้ตัว เพื่อเริ่มต้นทำความเข้าใจเกี่ยวกับโลกเรา 
อาศัยกิจกรรมที่นำไปสู่การค้นพบคำตอบเกี่ยวกับดิน น้ำ อากาศ และไฟ 
จากการทดลองค้นคว้าง่ายๆ ตามศักยภาพของเด็ก 
โดยกระตุ้นการเรียนรู้จากการตั้งคำถามและร่วมกันค้นหาคำตอบไปพร้อมๆ กัน

การนำไปใช้

                   เมื่อเข้าเรียนรู้เข้าใจเล้วเราก็จะสามารถนำไปใช้กับเด็กได้ โดยการเรียนวิทยาศสตร์อย่างสนุกสนานและเข้าใจในวิทยาศาสตร์ไปได้อีกด้วย

การประเมิน           

        ตนเองในชั้นเรียน : มีการจดบันทึกเข้าใจในเนื้อหาของวิทยาศาสตร์ การทดลองวิทยาศาสตร์การนำไปใช้กับเด็กได้อย่างไร 
        เพื่อนในชั้นเรียน : ค่อยข้างตั้งใจเรียนและตอบคำถามของอาจาย์ ในการเรียนการสอนของอาจารย์           อาจารย์ผู้สอน : ยังคงใช้วิธีการสอนแบบถามตอบ ตั้งคำถามแบบปลายเปิดให้ผู้เรียนเข้าร่วมในการสอนของอาจารย์






วันจันทร์ที่ 22 กันยายน พ.ศ. 2557

บันทึกอนุทินครั้งที่ 5

วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
( Science Experiences Management for Early Childhood )

อาจารย์ผู้สอน อ. จินตนา สุขสำราญ

วัน/เดือน/ปี 16/09/57

เรียนครั้งที่ 5 เวลาเรียน 14:10 - 17:30
กลุ่ม 102 วันอังคาร ห้อง 434

       วันนี้ครูให้ฟังเพลงและดูคลิปวิดิโอที่เด็กมัธยมจัดทำขึ้น และได้ให้เพื่อนๆออกไปนำเนอบทความ  หลังจากนั้นคุณครูก็วิเคราะห์
บทความของเพื่อนๆ

            ความรู้ที่ได้รับเพิ่มเติม





           สุดท้ายครูให้นักศึกษาแบ่งกลุ่มให้คิดหน่วยการเรียนรู้   ซึ่งกลุ่มดิฉันคิดหน่วย  ข้าวโพด


การนำไปประยุกต์ใช้

-สามารถนำความรู้ที่ได้จากการเรียนไปใช้สอนเด็กได้อย่างถูกวิธีและเหมาะสมกับเด็กได้การประเมิน

1.ตนเอง  ในวันนี้ค่อนข้างตั้งใจเรียนมากกว่าทุกครั้ง

2.เพื่อน  คุยกันน้อยลง  ตั้งใจเรียนกันมากขึ้น

3.ผู้สอน   มีการยกตัวอย่างได้เข้าใจและทำให้นักศึกษาคิดภาพตามได้ง่าย


                                                                   

ความลับของแสง


สรุปบทความ

“STEM” คืออะไร
ผศ.ดร.ชลาธิป  สมาหิโต  ได้ให้คำจำกัดความของ STEM ไว้ว่า  เป็นการจัดการศึกาแบบบูรณาการความรู้ทางวิทยาศาสตร์  เทคโนโลยี   วิศวกรรมศาสตร์  และคณิตศาสตร์  โดยนำลักษณะทางธรรมชาติของแต่ละวิชามาผสมผสานปละจัดเป็นการเรียนรู้ให้กับผู้เรียน  ซึ่งชื่อของ “STEM” เกิดจากการย่อชื่ออักษรตัวแรกของ  4  สาระวิชาเข้าด้วยกันคือ
                1.Science หมายถึง  วิทยาศาสตร์
                2.Technology  หมายถึง  เทคโนโลยี
 
             3.Engineering  หมายถึง  วิศวกรรมศาสตร์
                4.Mathematic  หมายถึง  คณิตศาสตร์
                สรุปแล้ว STEM กำเนิดขึ้นมาโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อการพัฒนาศักยภาพทั้ง 4 ด้านของเด็กให้มีความพร้อมที่จะก้าวไปสู่การพัฒนาความรู้ในระดับสูงขึ้น อีกทั้งเพื่อเป็นการเพิ่มโอกาสในการแข่งขันกันในสังคมเศรษฐกิจของประเทศและเป็นการต่อยอดโอกาสในการเรียนรู้ หรือการทำงานของประชากรในอนาคตต่อไป
                ดังนั้นการบูรณาการเรื่อง STEM  สู่การเรียนการสอนของเด็กปฐมวัยจึงไม่ใช่เรื่องยากเพียงแค่ครูจัดกิจกรรมหรือสร้างสถานการณ์ต่างๆแล้วกำหนดปัญหาขึ้นมาให้เด็กได้ฝึกฝนการแก้ปัหา  เป็นการกระตุ้นให้เด็กได้คิด  ได้แสดงความสามารถที่หลากหลาย  หากผลการทลองหรือการแก้ปัญหาที่เด็กค้นพบนั้นยังไม่ถูกต้องตามที่ครูกำหนดไว้ ครูควรให้เด็กได้ทดลองหรือปฏิบัติซ้ำเพื่อหาคำตอบที่ถูกต้อง โดยครั้งนี้ครูอาแนะนำหาความรู้เพิ่มเติมให้แก่แก่เด็ก เพื่อช่วยให้เด็กเกิดการเรียนรู้เพิ่มมากขึ้น  นอกจากนี้ครูยังสามารถนำ STEM มายูรณาการกับทักษะในด้านอื่นๆ ได้อีก เช่น การจัดการศึกษาแบบ STEM Education ที่มีการนำ STEM มาบูรณาการกับทั้กษะทางศิลปะ  เพื่อจะทำให้เด็กได้ใช้ความคิดสร้างสรรค์และมีจินตนาการในการออกแบบชิ้นงานนั้นๆให้มีความสวยงามมากยิ่งขึ้น 

                ด้วยเหตุนี้ “STEM Education”  จึงเป็นการศึกษาที่เหมาะกับการเรียนการสอนของเด็กยุคปัจจุบันเป็นอย่างมาก ด้วยเนื้อหาที่มีความแปลกใหม่ และเป็นการบูรณาการสาขาวิชาแนงต่างๆเข้าไว้ด้วยกันอย่างลงตัว จึงไม่น่าแปลกที่ “STEM Education” จะเป็นการศึกากระแสใหม่ที่กำลังมาแรงของวงการการศึกษาในบ้านเรา

บทความฉบับเต็ม

วันอาทิตย์ที่ 14 กันยายน พ.ศ. 2557

บันทึกอนุทินครั้งที่ 4

วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย

( Science Experiences Management for Early Childhood )
รหัสวิชา EAED3207 จำนวนหน่วยกิต 3(2-2-5)
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ จินตนา สุขสำราญ
วัน/เดือน/ปี 09/09/57 ภาคเรียนที่ 1/2557
กลุ่ม102 เรียนวันอังคาร 14:10 - 17:30 ห้อง 434



การเรียนวันนี้ เรื่อง หลักการจัดการศึกษาสำหรับเด็กปฐมวัย
 โดยสรุปเป็น Mind Map ได้ดังนี้






การนำความรู้ไปประยุกต์ใช้

1.การจัดกิจกรรมให้สอดคล้องกับการเรียนรู้ของเด็กเพื่อให้เด็กได้แสดง
อกทางพัฒนาการได้อย่างมีคุณภาพ
2.การจัดประสบการณ์ที่สอดคล้องกับพัฒนาการของเด็กและการนำ
หลักทฤษฏีมาอ้างอิง
3.การนำทฤษฏีการเรียนรู้มาอ้างอิงในการจัดการศึกษาเพื่อที่จะได้มี
เป้าหมายในการเรียนรู้ของเด็ก
4.การพัฒนาการสื่อสารทางด้านภาษาเพื่อที่จะเข้าสู่สังคมอาเซียนอย่างมั่นคง
5.การใช้ Mind Map เพื่อการสรุปองความรู้อย่างเป็นระบบและง่ายต่อความเข้าใจ
6.การประเมินการเรียนการสอน

1.ประเมินตนเอง : แสดงความคิดเห็นและตอบคำถามได้ดี ให้ความสนใจกับ
การเรียนการสอน และสามารถสรุปการเรียนได้ดีในรูปแบบ Mind Map
2.ประเมินเพื่อน : เพื่อนทุกคนร่วมกันแสดงความคิดเห็น พยายามพัฒนาการ
สรุปความรู้ในรูปแบบ Mind Map เพื่อจัดความคิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ 
3.ประเมินอาจารย์ : อาจารย์ใช้เทคนิคการสอนโดยใช้คำถามปลายเปิด 
ให้นักศึกษาได้ใช้ทักษะการคิดวิเคราะห์ และให้ความสนใจกับคำตอบ
ของนักศึกษาทุกคน การส่งเสริมทักษะทางด้านภาษาอังกฤษ การจับประเด็นความรู้ใ
ห้ถูกต้องและแม่นยำทฤษฏีการเรียนรู้


บันทึกอนุทินครั้งที่ 3

วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย

( Science Experiences Management for Early Childhood )
รหัสวิชา EAED3207 จำนวนหน่วยกิต 3(2-2-5)
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ จินตนา สุขสำราญ
วัน/เดือน/ปี 02/09/57 ภาคเรียนที่ 1/2557
กลุ่ม102 เรียนวันอังคาร 14:10 - 17:30 ห้อง 434

              วันนี้ไม่มีการเรียนการสอนค่ะ เนื่องจากได้เข้าร่วมกิจกรรมของคณะ 
 "โครงการ ศึกษาศาสตร์วิชาการ" "Thinking Faculty" ณ อาคารพลศึกษา
(โรงยิม) มีกิจกรรมมากมากมายให้เล่นสนุก ที่ซุ้มต่างๆ

                                                 กิจกรรมที่ได้เข้าร่วม

1.นิทรรศการการคิดวิจารณญาน

2.นิทรรสการการคิดเป็นระบบ
3.นิทรรศกการการคิดวิเคราะห์
4.นิทรรสการการคิดสังเคราะห์
5.นิทรรศการการคิดสร้างสรรค์
6.นิทรรศการผลงานการคิด



บันทึกอนุทินครั้งที่ 2

วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย

      ( Science Experiences Management for Early Childhood )

รหัสวิชา EAED3207 จำนวนหน่วยกิต 3(2-2-5)
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ จินตนา สุขสำราญ
วัน/เดือน/ปี 26/08/57 ภาคเรียนที่ 1/2557
กลุ่ม102 เรียนวันอังคาร 14:10 - 17:30 ห้อง 434





การนำความรู้ไปประยุกต์ใช้


1.การออกแบบกิจกรรมที่สอดคล้องกับการเรียนรู้ของเด็กเพื่อส่งเสริมพัฒ
นาการของเด็กให้มีประสิทธิภาพ
2.การจัดประสบการณ์ที่สอดคล้องกับพัฒนาการของเด็กเพื่อที่เด็กจะได้มี
พัฒนาการที่เหมาะสมกับวัย
3.การเปิดโอกาสและให้ความสนใจกับทุกๆข้อสงสัยเด็กของเด็กเพื่อเด็กจะไ
ด้มีความรู้ที่กว้างขวาง

การประเมินการเรียนการสอน

1.ประเมินตนเอง : แสดงความคิดเห็นและตอบคำถามได้ดี ให้ความสนใจกั
บการเรียนการสอน 
2.ประเมินเพื่อน : เพื่อนทุกคนร่วมกันแสดงความคิดเห็น และสามารถเชื่อมโยง
ประสบการณ์เดิมสู่องค์ความรู้ใหม่ได้ดี
3.ประเมินอาจารย์ : อาจารย์ใช้เทคนิคการสอนโดยใช้คำถามปลายเปิด
 ให้นักศึกษาได้ใช้ทักษะการคิดวิเคราะห์ และให้ความสนใจกับคำตอบของนักศึกษาทุกคน


บันทึกอนุทินครั้งที่ 1

วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
( Science Experiences Management for Early Childhood )
รหัสวิชา EAED3207 จำนวนหน่วยกิต 3(2-2-5)
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ จินตนา สุขสำราญ
วัน/เดือน/ปี 19/08/57 ภาคเรียนที่ 1/2557
กลุ่ม102 เรียนวันอังคาร 14:10 - 17:30 ห้อง 434


อาจารย์ได้อธิบายแนวการสอน, ผลลัพธ์การเรียนรู้ แบ่งเป็น 6 ด้าน ได้แก่ 
-ด้านคุณธรรมจริยธรรม                  
-ด้านความรู้ 
-ด้านทักษะทางปัญญา
-ด้านทักษะความสามารถระหว่างบุคคล และความรับผิดชอบ
-ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 
-ด้านการจัดการเรียนรู้ 

ข้อมูลในการบันทึกการเรียน ได้แก่ เนื้อหาที่เรียน และการนำไปประยุกต์ใช้

องค์ประกอบของบล็อก ซึ่งมีองค์ประกอบดังนี้
          1. ชื่อ และคำอธิบายบล็อก 
          2. รูป และข้อมูลผู้เรียน
          3. ปฏิทิน และนาฬิกา
          4. เชื่อโยงบล็อก
                - อาจารย์ผู้สอน
                -หน่วยงานสนับสนุน 
                -แนวการสอน
                - บทความ
                - สถิติผู้เข้าชม
                - รายชื่อเพื่อน 

                         หมายเหตุ*   ให้นักศึกษาพิมพ์เป็นภาษาอังกฤษ


 การนำไปประยุกต์ใช้  

-สามารถนำวิธีการทำบล็อก การใส่องค์ประกอบต่างๆของบล็อก ไปใช้ในการบันทึกความรู้ หรือข้อมูลต่างๆ 
-สามารถนำมาใช้ในรายวิชาอื่นได้อีกด้วย 
-นำวิธีการสอนไปใช้กับเด็กได้ เช่น มีการใช้คำถาม ให้เด็กได้มีส่วนร่วมในการเรียน 
-สามารถนำทักษะภาษาอังกฤษมาใช้ในการศึกษา เพราะประเทศไทยของเรากำลังจะก้าวหน้าสู่อาเซียน เราจึงต้องพัฒนาความรู้ทางด้านภาษาของเราให้คล่องและแม่นยำ

-สามารถใช้เทคโนโลยีในการศึกษาได้อย่างมีคุณภาพ เพราะการทำสื่อ เราต้องทำได้หลายรูปแบบ