วันจันทร์ที่ 29 กันยายน พ.ศ. 2557

บันทึกอนุทินครั้งที่ 6

วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
( Science Experiences Management for Early Childhood )
อาจารย์ผู้สอน อ. จินตนา สุขสำราญ
วัน/เดือน/ปี 23/09/57
เรียนครั้งที่ 6 เวลาเรียน 14:10 - 17:30
กลุ่ม 102 วันอังคาร ห้อง 434




มีการนำเสนอบทความ  ดังนี้


      น.ส.สุธาสิณี  ธรรมานนท์
       บทความเรื่อง  แนวทางให้เด็กทดลอวิทยาศาสตร์
       ผู้เขียน: ดร.เพกัญญา  พรหมขัติแก้ว

น.ส.นฤมล อิสระ

       ผู้เขียน: มิสวัลลภา  ขุมหิรัญ
ความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ส่งผลให้เราสามารถดูแลสุขภาพได้ดีขึ้นและเข้าใจเกี่ยวกับการโภชนาการ  
ผลจากการแสวงหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ทำให้เรามีความเป็นอยู่อย่างสะดวกสะบาย

เด็กเล็กๆมีธรรมชาติที่อยากรู้อยากเห็น  สามารถแสวงหาความรู้จากสิ่งต่างๆรอบตัวเขาและเริ่มเข้าใจสภาพแวดล้อมที่เขาอาศัยอยู่  กิจกรรมวิทยาศาสตร์ทำให้เด็กสนใจวัตถุและเหตุการณ์ เด็กเล็กมีวิธีการเรียนรู้คล้ายวิทยาศาสตร์สามารถทำงานด้วยทักษะการแสวงหาความรู้  กิจกรรมวิทยาศาสตร์จะส่งเสริมความสามารถของเด็กในเรื่องการคิดวิเคราะห์และการพัฒนาการทางอารมณ์ เช่น เด็กมีความรู้สึกและเจตคติทางบวก

น.ส.ยุพดี  สนประเสริฐ
บทความเรื่อง โลกของเราดำเนินอยู่ได้อย่างไร

ผู้เขียน: สสวท.
การสร้างประสบการณ์การเรียนรู้เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมใกล้ตัว เพื่อเริ่มต้นทำความเข้าใจเกี่ยวกับโลกเรา 
อาศัยกิจกรรมที่นำไปสู่การค้นพบคำตอบเกี่ยวกับดิน น้ำ อากาศ และไฟ 
จากการทดลองค้นคว้าง่ายๆ ตามศักยภาพของเด็ก 
โดยกระตุ้นการเรียนรู้จากการตั้งคำถามและร่วมกันค้นหาคำตอบไปพร้อมๆ กัน

การนำไปใช้

                   เมื่อเข้าเรียนรู้เข้าใจเล้วเราก็จะสามารถนำไปใช้กับเด็กได้ โดยการเรียนวิทยาศสตร์อย่างสนุกสนานและเข้าใจในวิทยาศาสตร์ไปได้อีกด้วย

การประเมิน           

        ตนเองในชั้นเรียน : มีการจดบันทึกเข้าใจในเนื้อหาของวิทยาศาสตร์ การทดลองวิทยาศาสตร์การนำไปใช้กับเด็กได้อย่างไร 
        เพื่อนในชั้นเรียน : ค่อยข้างตั้งใจเรียนและตอบคำถามของอาจาย์ ในการเรียนการสอนของอาจารย์           อาจารย์ผู้สอน : ยังคงใช้วิธีการสอนแบบถามตอบ ตั้งคำถามแบบปลายเปิดให้ผู้เรียนเข้าร่วมในการสอนของอาจารย์






ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น